การห้ามประกอบกิจการแข่งขันกับนายจ้าง ตอนจบ

บทความกฏหมาย บทความตอนแรกของการห้ามประกอบกิจการค้าแข่งขันกับนายจ้างนั้น กล่าวถึงที่มาของการห้ามดังกล่าวเนื่องจากนายจ้างมีวัตถุประสงค์หลักที่จะป้องกันรักษาความลับทางการค้าของตนจากบุคคลใกล้ตัวซึ่งก็คือ...

สหภาพแรงงาน ภาคหนึ่ง

บทความกฏหมาย สหภาพแรงงาน เป็นองค์กรที่ลูกจ้างเป็นผู้จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวแทนของลูกจ้างในการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้าง ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างนายจ้างด้วยกันอีกด้วย...

สหภาพแรงงาน ภาคจบ

บทความกฏหมาย เมื่อบทความ ผู้เขียนได้ปูพื้นฐานเพื่อให้ท่านผู้อ่านเห็นว่า สหภาพแรงงาน มีที่มาที่ไปอย่างไร ส่วนภาคนี้จะว่ากันถึงบทบาทและหน้าที่ของสหภาพแรงงาน รวมทั้งการคุ้มครองทางกฎหมายซึ่งส่งผลให้สหภาพแรงงานเป็นผู้ทรงอิทธิพลกลุ่มหนึ่งในการนำมวลชน...

เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ครั้งที่ 1

บทความกฏหมาย มักจะเป็นที่เข้าใจผิดอยู่เสมอว่า เมื่อนายจ้างได้จ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานแล้ว  นายจ้างสามารถเลิกจ้างลูกจ้างได้ โดยไม่จำต้องพิจารณาว่า เพราะเหตุใด ทำให้นายจ้างพลาดท่าถูกลูกจ้างฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม...

เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ครั้งที่ 2(ตอนจบ)

บทความกฏหมาย เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาท่านผู้อ่าน  ผู้เขียนขอเริ่มต่อเลยครับ ๑.  กรณีเลิกจ้างโดยอ้างเหตุปรับโครงสร้างองค์กร เป็นข้อยอดนิยมสำหรับนายจ้างยามเศรษฐกิจไม่ดีที่จะเลิกจ้างลูกจ้างอย่างชอบธรรม ซึ่งก็ปรากฏคดีขึ้นสู่ศาลฏีกาเป็นจำนวนมาก ...

การกระทำอันไม่เป็นธรรมกับการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

บทความกฏหมาย ดูเสมือนจะเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายแล้วสำหรับการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม โดยทั่วไปเป็นที่เข้าใจว่า หากลูกจ้างถูกเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชย สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า เงินชดเชยวันหยุดพักผ่อนประจำปีที่ยังไม่ได้ใช้ นอกจากนี้...