โดย webadmin | พ.ย. 1, 2018 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย จากการที่มีข่าวกระฉ่อนโซเชียลว่า ซุปเปอร์มาเก็ตชื่อดังประกาศปรับปรุงโครงสร้างองค์กร โดยจำต้องเลิกจ้างลูกจ้างเป็นจำนวนกว่า ๔๐-๕๐ เปอร์เซ็นต์ ด้วยวิธีการจ้างออก กล่าวคือให้ลูกจ้างลงนามในใบลาออกและจ่ายค่าชดเชยตามอัตราที่กฎหมายคุ้มครองแรงงานกำหนดนั้น...
โดย webadmin | ก.ค. 3, 2017 | บทความภาษาไทย
กองทุนเงินให้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา หรือที่เรียกว่า “กยศ” เตรียมตัวบังคับใช้กฎหมายกองทุนเงินให้กู้ยืมเงินฉบับใหม่ ซึ่งจะมีผลใช้บังคับในวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ นี้แล้ว โดยใช้วิธีการหักเงินเดือนลูกหนี้ชำระหนี้ กยศ โดยจะบังคับใช้กับทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน...
โดย webadmin | ก.ค. 17, 2017 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย เออรี่รีไทร์หรือเออรี่รีไทร์เม้น (Early Retirement) เป็นคำที่กลายเป็นที่แพร่หลายในวงการแรงงาน เนื่องจากเป็นมาตรการหนึ่งที่นายจ้างนำมาใช้กับลูกจ้าง โดยให้ลูกจ้างเกษียณตัวเองก่อนครบกำหนดในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน...
โดย webadmin | มิ.ย. 23, 2017 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย กฎหมายฟื้นฟูกิจการได้ประกาศใช้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๑ เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ที่ประสบปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงินชั่วคราว ให้สามารถขอรับความช่วยเหลือทางการเงินจากเจ้าหนี้เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสฟื้นฟูกิจการได้...
โดย webadmin | ต.ค. 11, 2018 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย ผู้เขียนได้เขียนบทความเกี่ยวกับการข่มเหงรังแกในการทำงาน (Power Harassment) https://goo.gl/s8JbCt ปรากฏว่า ได้มีท่านผู้อ่านให้ความสนใจเขียนอีเมล์เข้ามาสอบถามผู้เขียนอย่างมากมาย ซึ่งจากคำถามของท่านผู้อ่านทำให้ผู้เขียนพบว่า...
โดย webeditor | พ.ย. 19, 2018 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย นับตั้งแต่ประเทศไทยได้ประกาศให้มีกฎหมายความลับทางการค้า พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้นมา บรรดาผู้ประกอบธุรกิจได้เกิดการตื่นตัวและให้ความสำคัญกับข้อมูลทางการค้าของตน โดยการสร้างมาตรการต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อป้องกันมิให้ข้อมูลทางธุรกิจของตนรั่วไหลไปถึงคู่แข่งทางการค้า...
โดย webeditor | พ.ย. 20, 2018 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย บทความตอนแรกของการห้ามประกอบกิจการค้าแข่งขันกับนายจ้างนั้น กล่าวถึงที่มาของการห้ามดังกล่าวเนื่องจากนายจ้างมีวัตถุประสงค์หลักที่จะป้องกันรักษาความลับทางการค้าของตนจากบุคคลใกล้ตัวซึ่งก็คือ...
โดย webeditor | พ.ย. 20, 2018 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย สหภาพแรงงาน เป็นองค์กรที่ลูกจ้างเป็นผู้จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวแทนของลูกจ้างในการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้าง ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างนายจ้างด้วยกันอีกด้วย...
โดย webeditor | พ.ย. 20, 2018 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย เมื่อบทความ ผู้เขียนได้ปูพื้นฐานเพื่อให้ท่านผู้อ่านเห็นว่า สหภาพแรงงาน มีที่มาที่ไปอย่างไร ส่วนภาคนี้จะว่ากันถึงบทบาทและหน้าที่ของสหภาพแรงงาน รวมทั้งการคุ้มครองทางกฎหมายซึ่งส่งผลให้สหภาพแรงงานเป็นผู้ทรงอิทธิพลกลุ่มหนึ่งในการนำมวลชน...
โดย webeditor | พ.ย. 20, 2018 | บทความภาษาไทย
บทความกฏหมาย มักจะเป็นที่เข้าใจผิดอยู่เสมอว่า เมื่อนายจ้างได้จ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานแล้ว นายจ้างสามารถเลิกจ้างลูกจ้างได้ โดยไม่จำต้องพิจารณาว่า เพราะเหตุใด ทำให้นายจ้างพลาดท่าถูกลูกจ้างฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม...
ความเห็นล่าสุด